Page 8 - Fileหนังสือเพชรราชธานี ปี 2568 11มีค.indd
P. 8
คำนำ
สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ได้กำหนดจัดกิจกรรมเชิดชูเกียรต ิ
ผู้มีผลงานดีเด่นทางวัฒนธรรม ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๘ เพื่อสรรหาหรือคัดเลือกบุคคลผู้สร้างสรรค์ผลงาน
ทางศิลปะและวัฒนธรรม ที่มีผลงานปรากฏเป็นที่ประจักษ์และยอมรับต่อสาธารณชนโดยทั่วไป อีกทั้ง เพื่อเป็นการ
ี
่
ส่งเสริมสนับสนุนบุคคลผู้ทอุทิศตนสร้างสรรค์ผลงานทางศิลปะและวัฒนธรรมเหล่านี้ ให้มีขวัญและกำลังใจ
ในการสร้างสรรค์ผลงานและพัฒนางานด้านศิลปะและวัฒนธรรม สำนักศิลปะและวัฒนธรรม จึงได้ประกาศยกย่อง
ิ
เชิดชูเกียรติให้เป็นที่ประจักษ์ เพื่อสนับสนุนให้มีการสืบทอดมรดกทางภูมิปัญญาของชาติอันมีคุณค่ายงนี้
่
แก่ลูกหลานสืบไป
หนังสือเพชรราชธานี เล่มนี้ สำนักศิลปะและวัฒนธรรม ได้จัดพิมพ์ขึ้นเพื่อเผยแพร่ประวัติและผลงาน
ิ
ของผู้มีผลงานดีเด่นทางวัฒนธรรม ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๘ ที่ได้รับการประกาศยกย่องเชิดชูเกียรต
์
ิ
ให้รับ “รางวัลเพชรราชธานี” ทั้ง ๗ สาขา จำนวน ๘ ท่าน ดังนี้ สาขาทัศนศิลป์ นายโชคชัย ตักโพธ/
์
สาขาดุริยางคศิลป ผู้ช่วยศาสตราจารย์ศรชัย เต็งรัตน์ล้อม/ สาขาศิลปะการแสดง นายอำไพ บุญรอด/
สาขาศิลปหัตถกรรม นายพงษ์ชยุตน์ โพนะทา/ สาขาศาสนาและขนบธรรมเนียมประเพณี พระครูวิเวกธรรมธาร ี
(พวงพิด ธมฺมธโร) และพระครูโสภณพรหมรังษี (วรวุฒิ มหาพโล)/ สาขาการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม
์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์สาระ มีผลกิจ และสาขาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ขรรค์เพชร คำสัตย
่
โดยแต่ละท่านเป็นบุคคลที่มีผลงานทางศิลปะและวัฒนธรรมแขนงต่าง ๆ เป็นที่รู้จัก และควรคา
ู
แก่การเป็นแบบอย่างที่ดี เกียรติประวัติที่ปรากฏในหนังสือเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้ได้ศึกษาเรียนร
้
และเกิดความภาคภูมิใจในความสามารถ และเป็นส่วนสำคัญในการสร้างแรงบันดาลใจให้แก่อนุชนรุ่นหลังต่อไป
สำนักศิลปะและวัฒนธรรม
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
๑๔ มีนาคม ๒๕๖๘