Page 52 - หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-BOOK) เพชรราชธานี ประจำปี ๒๕๖๓ สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
P. 52

ประวัติชีวิตและผลงำน


                                               นำยวิษณุ ผดุงศิลป์

                                 ผู้มีผลงำนดีเด่นทำงวัฒนธรรม สำขำศิลปหัตถกรรม

                                              ประจ�ำปีพุทธศักรำช ๒๕๖๓






                       นายวิษณุ ผดุงศิลป์ เกิดเมื่อวันที่ ๒๖ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๐๓ ที่อ�าเภอเมืองอ่างทอง จังหวัดอ่างทอง
               ปัจจุบันอายุ ๖๐ ปี



               ประวัติการศึกษา

                      พ.ศ. ๒๕๒๓  ส�าเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) จากวิทยาลัยช่างศิลป กรมศิลปากร

               กรุงเทพมหานคร
                      พ.ศ. ๒๕๒๕  ส�าเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) จากโรงเรียนเพาะช่าง

               กรุงเทพมหานคร
                      พ.ศ. ๒๕๒๗  ส�าเร็จการศึกษาปริญญาศึกษาศาสตรบัณฑิต (ศิลปกรรม) จากวิทยาลัยเทคโนโลยีและ
               อาชีวศึกษา วิทยาเขตเพาะช่าง



               ประวัติการท�างานและการสร้างสรรค์ผลงาน

                      พ.ศ. ๒๕๒๗–๒๕๒๙  ต�าแหน่งช่างศิลปกรรม ช่างซ่อมสงวนรักษา พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพระนคร
                      พ.ศ. ๒๕๓๑  อาจารย์ ๑ โรงเรียนหนามแท่งพิทยาคม รัชมังคลาภิเษก จังหวัดอุบลราชธานี

                      พ.ศ. ๒๕๓๔  อาจารย์ ๑ โรงเรียนริ้วหว้าวิทยาคม จังหวัดอ่างทอง
                      พ.ศ. ๒๕๓๖-๒๕๔๘  อาจารย์ ๒ โรงเรียนสตรีอ่างทอง จังหวัดอ่างทอง

                      พ.ศ. ๒๕๔๙–๒๕๕๑  ลาออกจากราชการมาท�างานส่วนตัว คือหัวโขน จิตรกรรมไทยและลายรดน�้า
                      พ.ศ. ๒๕๕๒–ปัจจุบัน  ครูภูมิปัญญาไทย อาจารย์พิเศษ (ไม่รับเงินค่าจ้าง) สอนวิชาการท�าอุปกรณ์
               ประกอบการแสดง และการท�าหัวโขนให้กับนักศึกษา หลักสูตรปริญญาตรี วิทยาลัยนาฏศิลปอ่างทอง



               การสร้างสรรค์ผลงานที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว

                      นายวิษณุ ผดุงศิลป์ เกิดและโตในครอบครัวท�าหัวโขน โดยเมื่อตอนเด็กได้ตามบิดาไปที่บ้านปู่จึงได้เห็น

               ปู่กับย่าท�าหัวโขน ซึ่งในตอนนั้นไม่รู้สึกอะไรแต่เห็นว่าหัวโขนนั้นสวย พอเติบโตขึ้นเห็นบิดาและอาท�าหัวโขนใน
               ลักษณะต่าง ๆ จนชินตาจึงเกิดความซึมซับ และในช่วงที่เรียนชั้นประถมศึกษาบิดาซึ่งเป็นครูสอนศิลปะก็ได้สอน

               ให้เขียนภาพและระบายสี จึงท�าให้มีความรู้ความสามารถที่จะเขียนภาพประกวดได้ และหลังจากส�าเร็จการศึกษา
               ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ได้เข้าศึกษาต่อระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ที่วิทยาลัยช่างศิลป กรมศิลปากร
               ได้เรียนวิชาศิลปะไทย โดยเฉพาะจิตรกรรมไทยและลายรดน�้า ขณะเดียวกันก็มีความสนใจในเรื่องหัวโขนซึ่งเป็น



                  50      เพชรราชธานีี
                          รางวัลเชิดชูเกียรติผู้มีผลงานดีเด่นทางวัฒนธรรม ประจำาปีพุทธศักราช ๒๕๖๓
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57