Page 211 - วัฒนศิลปสาร ปีที่ ๑๕ (ตุลาคม ๒๕๖๒ - พฤษภาคม ๒๕๖๓) สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
P. 211

วัดในเขตอ�ำเภอเมืองอุบลรำชธำนี จังหวัดอุบลรำชธำนี 203


            (แพน) สองท่านนี้เป็นขุนนางผู้มีชื่อเสียง และร่วมถวายที่นาสร้างวัดพลแพน

            ด้วย (บ�าเพ็ญ ณ อุบล ๒๕๕๓: ๑๕๒) ที่ดินตั้งบ้านเรือนของกวนเมือง (แพน)
            ปัจจุบันคือบ้านสวนดอกแก้วของตระกูลวีสเพ็ญซึ่งเป็นลูกหลานของท่าน
            (เรไร วีสเพ็ญ ๒๕๕๓: ๑๕)

                  วัดพลแพนได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ ๑๘ สิงหาคม พ.ศ.
            ๒๕๓๑ กว้าง ๓๕ เมตร ยาว ๖๕ เมตร ที่มาของชื่อวัดพลแพนคือ พลมาจาก

            ท้ายชื่อพระพิทักษ์ชุมพล แพนมาจากชื่อกวนเมือง (แพน)
                  เจ้าอาวาส เจ้าอาวาสวัดพลแพนนับถึง พ.ศ. ๒๕๖๒ มี ๑๐ รูป ดังนี้
                        ๑) ญาท่านผิว มาจากบ้านเตย อ�าเภอม่วงสามสิบ

                        ๒) ญาท่านเผย
                        ๓) ญาท่านนา ปภากโร (ศรีลา) ครองวัด พ.ศ. ๒๔๙๕-๒๔๙๙

                        ๔) พระมหาพินิจ จตฺตสลฺโล รักษาการเจ้าอาวาส พ.ศ. ๒๔๙๘-
            ๒๕๐๓
                        ๕) พระมหาพรหมมา ญาณจารี (อนุชาติ) รักษาการเจ้าอาวาส

            พ.ศ. ๒๕๐๓-๒๕๐๔
                        ๖) พระมหาอ่อน อิสิญาโน ครองวัดปี พ.ศ. ๒๕๐๔-๒๕๐๗

                        ๗) พระมหาพรหมมา ญาณจารี (อนุชาติ) รักษาการเจ้าอาวาส
            พ.ศ. ๒๕๐๗-๒๕๑๐
                        ๘) พระครูสาทรมงคลกิจ (สาธุ์ สายหงษ์) รองเจ้าคณะอ�าเภอเมือง

            อุบลราชธานี ครองวัด พ.ศ. ๒๕๑๐-๒๕๓๐
                        ๙) พระครูสุนทรญาณคุณ (พรหมมา ญาณจารี อนุชาติ ป.ธ.๓,

            น.ธ.เอก) รักษาการเจ้าอาวาสปี พ.ศ. ๒๕๓๐ และเป็นเจ้าอาวาสครองวัด
            พ.ศ. ๒๕๓๑-๒๕๔๐
                        ๑๐) พระครูอดุลธรรมประจักษ์ (เนตร เตชธโร สหพันธ์) ครองวัด

            พ.ศ. ๒๕๔๐-ปัจจุบัน
   206   207   208   209   210   211   212   213   214   215   216