Page 242 - วัฒนศิลปสาร ปีที่ ๑๕ (ตุลาคม ๒๕๖๒ - พฤษภาคม ๒๕๖๓) สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
P. 242

234 วัดในเขตอ�ำเภอเมืองอุบลรำชธำนี จังหวัดอุบลรำชธำนี


                     ๑) หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล เป็นผู้แกะสลักพระอุปคุต

                     ๒) พระพุทธรูปไม้ขนาดใหญ่และขนาดเล็กเป็นศิลปะท้องถิ่น
                     ๓) วัตถุมงคลอันเกี่ยวข้องกับหลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต
                     ๔)  หนังสือธรรมและหนังสือครูบาอาจารย์ของพระปฏิบัติ

          สายหลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต
               ๒.๔ หอไตรเฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา

                     หอไตรเฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษาเป็นหอไตรกลางน�้า เก็บรักษา
          คัมภีร์ใบลาน ซึ่งโครงการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลานภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
          กลุ่มงานอนุรักษ์เอกสารโบราณ สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน

          มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ด�าเนินการจัดระบบคัมภีร์ใบลานห่อด้วยผ้าไหม
          และประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ พระพุทธรูป จัดเก็บโบราณวัตถุและศิลป

          วัตถุที่ส�าคัญ ดังนี้
                     ๑) ตู้พระธรรม กว้าง ๘๒.๗ ซม. ยาว ๙๐ ซม. สูง ๑๘๓ ซม.
          เป็นตู้ขาหมูเขียนลายรดน�้ากนกเปลว บานประตูเขียนภาพท้าวเวสสุวรรณ

          มีอักษรธรรมจารึกที่ลิ้นชักซึ่ง มนัส สุขสาย อ่านไว้ว่า “พระครูเสาร์พร้อมด้วย
          สัทธิวิหาริกเป็นผู้ซ่อม แปงริจณา ได้จ้างท้าวจันสีสุราช เป็นผู้เขียนลาย โกเมด

          เจียผู้ผัวนางบุญตาพร้อมใจกันขอให้ข้าพระเจ้าทั้งหลายไปสู่พระนิพาน นิพพาน
          ปัจจัยโย โหตุ” (กนฺตสีลมหาเถรานุสรณ์ ๒๕๕๔: ๗๐)
                     ๒) หีบพระธรรม ลงชาดปิดทองฉลุลายก้านขดแบบลาว และก�าปั่น

          เหล็กใส่คัมภีร์ใบลาน แต่เดิมหีบเหล่านี้อยู่ใต้กุฏิจิตตกานนท์ พระครูอุบล
          คณาภรณ์ได้น�ามาเก็บไว้ที่หอไตรนี้

                     ๓) พระพุทธรูปส�าริดปางมารวิชัยศิลปะสุโขทัย กรมหลวงสรรพ
          สิทธิประสงค์ถวายแด่หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล
                     ๔) พระพุทธรูปส�าริดปางมารวิชัยศิลปะรัตนโกสินทร์ ครองจีวร

          ลายดอกพิกุล เจ้าจอมมารดาทับทิม ถวายแด่หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล
   237   238   239   240   241   242   243   244   245   246   247