Page 254 - วัฒนศิลปสาร ปีที่ ๑๕ (ตุลาคม ๒๕๖๒ - พฤษภาคม ๒๕๖๓) สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
P. 254

246 วัดในเขตอ�ำเภอเมืองอุบลรำชธำนี จังหวัดอุบลรำชธำนี


                                   วัดศรีประดู่


          ๑. ที่ตั้ง
               เลขที่ ๗๖ ถนนบูรพานอก ต�าบลในเมือง อ�าเภอเมืองอุบลราชธานี

               จังหวัดอุบลราชธานี
               พิกัด (UTM หรือละติจูด/ลองจิจูด) ๑๕.๒๓๖๓๓๕, ๑๐๔.๘๗๔๗๕๔


          ๒. ประเภทแหล่งศิลปกรรม โบราณสถานและโบราณวัตถุ
               วัดศรีประดู่ มีเสนาสนะและอาคารต่าง ๆ ได้แก่ อุโบสถ ศาลาสอนอาจ
          ศาลาแก้วเสนา ศาลาพระไสยาสน์ (ศาลาแดง) ศาลาพิภพอนุสรณ์ ศาลาโรงครัว

          หอระฆัง หอฉัน หอพระสังกัจจายน์ หอตักบาตรสวรรค์ กุฏิ เมรุ ศาลาคู่เมรุ
          ประตูโขงด้านทิศตะวันตก พิพิธภัณฑ์เทียนพรรษาวัดศรีประดู่ และอาคาร

          ชมรมผู้สูงอายุวัดศรีประดู่ มีโบราณวัตถุและศิลปวัตถุที่ส�าคัญ ดังนี้
               ๒.๑ ใบเสมาศิลาทราย
                     ใบเสมาศิลาทราย-หลักศิลา ศิลปะทวารวดี จ�านวน ๓ ใบไม่มี

          ลวดลายประดับนอกจากมีแกนทรงกรวยกลางใบทั้งสองด้าน พระครูถิรธรรมสิริ
          กล่าวว่า “ไม่ใช่ของดั้งเดิมในวัด พระเทพกิตติมุนี (สมเกียรติ สมฺกิตฺติ)

          อดีตเจ้าคณะจังหวัดอุบลราชธานี  และอดีตเจ้าอาวาสวัดมหาวนาราม
          พระอารามหลวง ซึ่งเป็นพระมหาเถระผู้อุปถัมภ์วัดน�ามาจากที่อื่น
               ๒.๒ โปง

                     โปงไม้อายุไม่น้อยกว่า ๕๐ ปี
               ๒.๓ พระสังกัจจายน์ศิลา

                     พระสังกัจจายน์ศิลา สลักนูนต�่าจากศิลาทราย ควรระบุขนาด
          ประดิษฐานในศาลาพระสังกัจจายน์
   249   250   251   252   253   254   255   256   257   258   259