Page 13 - วัฒนศิลปสาร ปีที่ ๑๔ (ตุลาคม ๒๕๖๑ - พฤษภาคม ๒๕๖๒) สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
P. 13

๘  ๘  วัฒนศิลปสาร (ฉบับพิเศษ) พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พุทธศักราช ๒๕๖๒   วัฒนศิลปสาร (ฉบับพิเศษ) พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พุทธศักราช ๒๕๖๒  ๙ 9 ๙
                                          วัฒนศิลปสาร (ฉบับพิเศษ) พระราชพิธีบรมราชาภิเษก
                                          วัฒนศิลปสาร (ฉบับพิเศษ) พระราชพิธีบรมราชาภิเษก
 วัฒนศิลปสาร (ฉบับพิเศษ) พระราชพิธีบรมราชาภิเษก


 การเรียกชื่อพิธีก็แตกตางกันออกไปในแตละสมัย เชน สมัยอยุธยา    ตอมาในสมัยกรุงธนบุรี ไมปรากฏหลักฐานการประกอบ
 สมัยรัตนโกสินทรตอนตน เรียกวา   พระราชพิธีบรมราชาภิเษก สันนิษฐานวาทำตามแบบอยางเมื่อครั้งสมัย

 “พระราชพิธีราชาภิเษก” หรือ “พิธีราชาภิเษก”    สมเด็จพระเจาอยูหัวบรมโกศ แหงกรุงศรีอยุธยา แตทำอยางสังเขป เพราะ

 สวนในปจจุบันเรียกวา “พระราชพิธีบรมราชาภิเษก”   บานเมืองไมสงบเรียบรอย ยังอยูในภาวะสงคราม

 สมัยสุโขทัย ปรากฏหลักฐานในศิลาจารึกหลักที่ ๒ หรือจารึกวัด  ครั้นถึงสมัยรัตนโกสินทร เมื่อ พ.ศ. ๒๓๒๕ พระบาทสมเด็จ
 ศรีชุม ซึ่งเปนเหตุการณที่เกิดขึ้นเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ ๑๘ กลาวถึงการ   พระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ไดประดิษฐานพระบรมราชจักรีวงศ และ

 ขึ้นเปนผูนำของพอขุนบางกลางหาว ไววา   ทรงกรุณาโปรดเกลาฯ ใหประกอบพระราชพิธีปราบดาภิเษกแตโดยสังเขป
                  ยังไมพรอมมูล เต็มตำรา ครั้น พ.ศ. ๒๓๒๖ โปรดใหขาราชการผูรูครั้งกรุง
 “...พอขุนผาเมืองจึงอภิเษกพอขุนบางกลางหาวใหเมืองสุโขทัย    เกา มีเจาพระยาเพชรพิชัยเปนประธาน ประชุมปรึกษาหารือกับสมเด็จ
 ใหทั้งชื่อตนแกพระสหายเรียกชื่อศรีอินทรบดินทราทิตย...”
                  พระสังฆราชและพระราชาคณะผูใหญ ทำการสอบสวนรวมกันตรวจสอบ
 สวนในศิลาจารึกวัดปามะมวงภาษาไทย และภาษาเขมรกลาวถึง  ตำราวาดวยการราชาภิเษกในแผนดินสมเด็จพระเจาอุทุมพร หรือขุนหลวง

 เครื่องราชกกุธภัณฑในพิธีบรมราชาภิเษกพระมหาธรรมราชาที่ ๑ (ลิไทย)   วัดประดูแลวแตงเรียบเรียงขึ้นไวเปนตำรา เรียกวา “ตำราราชาภิเษกครั้ง
 วามี มกุฎ พระขรรคชัยศรี และเศวตฉัตร   กรุงศรีอยุธยาสำหรับหอหลวง” เปนตำราที่เกี่ยวกับการราชาภิเษกที่เกาแก

 สมัยอยุธยา ปรากฏหลักฐานเกี่ยวกับพระราชพิธีบรมราชาภิเษก  ที่สุดเทาที่พบหลักฐานในประเทศไทยเมื่อไดแบบแผนการราชาภิเษก

 ในคำใหการของชาวกรุงเกา ขอความตอนหนึ่งกลาวถึงขั้นตอนของ   ที่สมบูรณแลว อีกทั้งพระราชมณเฑียรสถานที่สรางขึ้นใหมแลวเสร็จใน พ.ศ.
 พระราชพิธีนี้วา   ๒๓๒๘ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตั้งการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก
                  ใหสมบูรณตามแบบแผนอันไดเคยมีมาแตเกากอนอีกครั้งหนึ่ง และ
 “...พระเจากรุงศรีอยุธยาจึงโปรดใหเอาไมมะเดื่อนั้น มาทำตั่ง  แบบแผนการราชาภิเษกดังกลาวไดรับการยึดถือปฏิบัติเปนแบบอยางสืบมา

 สำหรับประทับสรงพระกระยาสนานในการมงคล เชน พระราชพิธี   เพื่อความเปนพระมหากษัตริยโดยสมบูรณ บางพระองคทรงประกอบ
 บรมราชาภิเษก เปนตน พระองคยอมประทับเหนือพระที่นั่งตั่งไมมะเดื่อ    พระราชพิธีบรมราชาภิเษก ๒ ครั้ง คือ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา

 สรงพระกระยาสนานกอนแลว (จึงเสด็จไปประทับพระที่นั่งภัทรบิฐ)    เจาอยูหัว และพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว
 มุขอำมาตยถวายเครื่องเบญจราชกกุธภัณฑ คือ มหามงกุฎ ๑ พระแสงขรรค

 ๑ พัดวาลวิชนี ๑ ธารพระกร ๑ ฉลองพระบาทคู ๑...”
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18