Page 16 - วัฒนศิลปสาร ปีที่ ๑๔ (ตุลาคม ๒๕๖๑ - พฤษภาคม ๒๕๖๒) สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
P. 16

๑๒  ๑๒ 12  วัฒนศิลปสาร (ฉบับพิเศษ) พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พุทธศักราช ๒๕๖๒                                        วัฒนศิลปสาร (ฉบับพิเศษ) พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พุทธศักราช ๒๕๖๒  ๑๓ ๑๓
                                                                                                                              วัฒนศิลปสาร (ฉบับพิเศษ) พระราชพิธีบรมราชาภิเษก
        วัฒนศิลปสาร (ฉบับพิเศษ) พระราชพิธีบรมราชาภิเษก
        วัฒนศิลปสาร (ฉบับพิเศษ) พระราชพิธีบรมราชาภิเษก


            ราชสมบัติและเครื่องสิริราชกกุธภัณฑที่พระที่นั่งภัทรบิฐ พบแต                                    คำแปล “ครั้งนี้ทานทั้งปวงพรอมใจกัน ยอมใหเราเปนเจาครอง
            “พระราชโองการปฏิสันถาร” ในการเสด็จมหาสมาคม ซึ่งโปรดใหพระบรม                              ราชสมบัติไดรับมุรธาภิเษกเปนใหญในสยามราษฎรวราณาจักรนี้แลว

            วงศานุวงศ และขุนนางทั้งฝายทหารและพลเรือนเขาเฝาเพื่อรับการถวาย                         เราขออนุญาตยอมให โดยธรรมิกราชประเพณี พรรณพฤกษชลธีในสยาม
            ราชสมบัติ จากนั้นจึงมีพระราชโองการตรัสปฏิสันถารกับเจาพระยา และ                           ราษฎรวราณาจักรนี้ ซึ่งไมมีเจาของหวงแหนนั้น ตามแตสมณพราหมณา

            พระยาทั้งปวง ซึ่งมีขอความเดียวกันทุกรัชกาล ตอมาภายหลัง                                  จารย ประชาราษฎรทั้งปวงจะปรารถนาใชสอยเทอญ ฯ”
            พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวโปรดใหยกเลิกพิธีสวนนี้                                     พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๖)
            มีแตเพียงการถวายพระพรชัยมงคลจากขุนนางฝายหนาและขาทูลละอองธุลี
                                                                                                      วันที่ ๑๑ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๔๕๓
            พระบาทฝายในเทานั้น
                                                                                                             คำภาษามคธ “อิทานาหํ พฺราหฺมณา ราชภารํ วหนฺโต พหุโน
                   พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๔)                                   ชนสฺส อตฺถาย หิตาย สุขาย ธมฺเมน สเมน รชฺชํ กาเรมิ ตุมฺหากํ สปริคฺค
            วันที่ ๑๕ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๓๙๔ “พรรณพฤกษ ชลธี แลสิ่งของ                                หิตานํ อุปริ ราชกํ อาณํ ปสาเรตฺวา นาโถ หุตฺวา ธมฺมิกํ รกฺขาวรณคุตฺตี

            ในแผนดิน ทั่วเขตพระนคร ซึ่งหาผูหวงแหนมิไดนั้น ตามแตสมณชี                              สํวิทหามิ วิสฺสฐา หุตฺวา ยถาสุขํ วิหรถ ฯ”
            พราหมณาจารยราษฎรจะปรารถนาเถิด”
                                                                                                             คำแปล “ดูกรพราหมณ บัดนี้เราทรงราชภาระครองแผนดินโดย
                   พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๕)                                ธรรมสม่ำเสมอ เพื่อประโยชนเกื้อกูลและสุขแหงมหาชน เราแผราชอาณา

            วันที่ ๑๒ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๔๑๑ (ครั้งแรก) “แตบรรดาที่ไมมี                          เหนือทานทั้งหลายกับโภคสมบัติ เปนที่พึ่ง จัดการปกครองรักษาปองกัน
            เจาของผลไมทั้งน้ำในหวยละหารตรทาก็ดี ตามแตสมณพราหมณาจารย                              อันเปนธรรมสืบไป ทานทั้งหลายจงวางใจอยูตามสบาย เทอญ ฯ”

            อาณาประชาราษฎรจะมาแตจตุระทิศตาง ๆ ตามแตจะปรารถนา”
                                                                                                             พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๗)
                   พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๕)                                วันที่ ๒๕ กุมภาพันธ พุทธศักราช ๒๔๖๘
            วันที่ ๑๒ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๔๑๑ (ครั้งหลัง)
                                                                                                             คำภาษามคธ “อิทานาหํ พฺราหฺมณา ราชภารํ วหนฺโต พหุโน
                   คำภาษามคธ “อิทานหํ สพฺเพสํ อนุมติยา ราชา มุทฺธาวสิตฺโต                             ชนสฺส อตฺถาย หิตาย สุขาย ธมฺเมน สเมน รชฺชํ กาเรมิ ตุมฺหากํ สปริคฺค

            สฺยาเมสุ อิสฺสราธิปจฺจํ รชฺชํ กาเรมิธ ธฺมมิกราชปเวณิยา อนุชานามิ ยนฺติ                    หิตานํ อุปริ ราชกํ อาณํ ปสาเรตฺวา นาโถ หุตฺวา ธมฺมิกํ รกฺขาวรณคุตฺตี
            สฺยามวิชิเต อปรปริคฺคหิตํ ติณกโจทกํ สมณพฺราหฺมณาทโย สพฺเพสฺยา                           สํวิทหามิ วิสฺสฐา หุตฺวา ยถาสุขํ วิหรถ ฯ”

            มรฐิกา ยถาสุขํ ปริภุฺชนุตุฯ ”
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21