Page 20 - วัฒนศิลปสาร ปีที่ ๑๔ (ตุลาคม ๒๕๖๑ - พฤษภาคม ๒๕๖๒) สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
P. 20

๑๖  ๑๖ 16  วัฒนศิลปสาร (ฉบับพิเศษ) พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พุทธศักราช ๒๕๖๒                                        วัฒนศิลปสาร (ฉบับพิเศษ) พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พุทธศักราช ๒๕๖๒  ๑๗ ๑๗
                                                                                                                              วัฒนศิลปสาร (ฉบับพิเศษ) พระราชพิธีบรมราชาภิเษก
        วัฒนศิลปสาร (ฉบับพิเศษ) พระราชพิธีบรมราชาภิเษก
        วัฒนศิลปสาร (ฉบับพิเศษ) พระราชพิธีบรมราชาภิเษก


                   ตราสัญลักษณพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พุทธศักราช ๒๕๖๒                                 ของอาณาประชาราษฎร ฉลองพระบาทเชิงงอน หมายถึง ทรงทำนุบำรุง
            ประกอบดวยอักษรพระปรมาภิไธย วปร อยูตรงกลาง พื้นอักษรสีขาวขอบ                             ปวงประชาทั่วรัฐสีมาอาณาจักร

            เดินทอง อันเปนสีของวันจันทรซึ่งเปนวันพระบรมราชสมภพ                                            เบื้องหลังพระมหาพิชัยมงกุฎประดิษฐานพระมหาเศวตฉัตรอันมี

                   ภายในอักษรประดับเพชร ตามความหมายแหงพระนามมหา                                      ระบายขลิบทอง จงกลยอดฉัตรประกอบรูปพรหมพักตรอันวิเศษสุด ระบาย

            วชิราลงกรณอักษร วปร อยูบนพื้นสีขาบ (น้ำเงินเขม) อันเปนสีของ                            ชั้นลางสุดหอยอุบะจำปาทอง แสดงถึงพระบารมีและพระบรมเดชานุภาพที่

            ขัตติยกษัตริย ภายในกรอบพุมขาวบิณฑสีทองสอดสีเขียว อันเปนสีซึ่งเปน                    ปกแผไปทั่วทิศานุทิศ
            เดชแหงวันพระบรมราชสมภพ กรอบทรงพุมขาวบิณฑอัญเชิญมาจากกรอบ                                     เบื้องลางกรอบอักษรพระปรมาภิไธยมีแถบแพรพื้นสีเขียว ถนิมทอง

            ที่ประดิษฐานพระมหาอุณาโลม อันเปนพระราชลัญจกรประจำพระองค                                 ขอบขลิบทอง มีอักษรสีทองความวา "พระราชพิธีบรมราชาภิเษก
            พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ปฐมกษัตริยแหงพระบรม                              พุทธศักราช ๒๕๖๒" ปลายแถบแพรเบื้องขวามีรูปคซสีหกายมวงออน

            ราชจักรีวงศ                                                                              ประคองฉัตร ๗ ชั้น หมายถึงขาราชการฝายทหาร เบื้องซายมีรูปราชสีห

                   แวดลอมดวยเครื่องเบญจราชกกุธภัณฑ อันเปนเครื่องประกอบ                            กายขาวประคองฉัตร ๗ ชั้นหมายถึงขาราชการฝายพลเรือน ผูปฏิบัติ

            พระบรมราชอิสริยยศของพระมหากษัตริยและเปนเครื่องหมายแหงความ                              ราชการสนองงานแผนดินอยูดวยกัน ขางคันฉัตรดานในทั้งสองขางมี
            เปนสมเด็จพระบรมราชาธิราช ไดแก พระมหาพิชัยมงกุฎพรอมอุณาโลม                             ดอกลอยกนกนาค แสดงถึงปมะโรงนักษัตรอันเปนปพระบรมราชสมภพ

            ประกอบเลขมหามงคลประจำรัชกาล อยูเบื้องบนพระแสงขรรคชัยศรีกับ                              สีทองหมายถึงความเจริญรุงเรืองยิ่งของประเทศชาติและประชาชน

            พระแสจามรี ทอดไขวอยูเบื้องขวา ธารพระกรกับพัดวาลวิชนี ทอดไขวอยู

            เบื้องซาย และฉลองพระบาทเชิงงอน อยูเบื้องลาง


                   พระมหาพิชัยมงกุฎ หมายถึง ทรงรับพระราชภาระอันหนักยิ่ง
            ของแผนดินเพื่อประโยชนสุขของประชาชน พระแสงชรรคชัยศรี หมายถึง

            ทรงรับพระราชภาระปกปองแผนดินใหพนจากภยันตราย ธารพระกร

            หมายถึง ทรงดำรงราชธรรมเพื่อค้ำจุนบานเมืองใหผาสุกมั่นคง พระแส

            จามรีกับพัดวาลวิชนี หมายถึง ทรงขจัดปดเปาความทุกขยากเดือดรอน
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25