Page 113 - วัฒนศิลปสาร ปีที่ ๑๕ (ตุลาคม ๒๕๖๒ - พฤษภาคม ๒๕๖๓) สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
P. 113
วัดในเขตอ�ำเภอเมืองอุบลรำชธำนี จังหวัดอุบลรำชธำนี 105
๒.๖ เรือไม้ตะเคียน
เรือไม้ตะเคียน ต้นตะเคียนที่น�ามาสร้างเรืออายุประมาณ ๑๘๐ ปี
๓. ประวัติความเป็นมา
วัดต�าแยเป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีเนื้อที่ราว ๓๗ ไร่
อาณาเขตทิศตะวันตกจดซอยราชพัสดุ ๑๐ ทิศใต้และทิศตะวันออกจด
บ้านเรือนประชาชน ทิศเหนือจดซอยราชพัสดุ ๒ อยู่ในบริเวณดงเจ้าปู่ (ดอนปู่ตา)
ของหมู่บ้านต�าแย
วัดต�าแยสร้างขึ้นราว พ.ศ. ๒๔๒๒ (พระครูอินทสารโสภณ ๒๕๖๒:
สัมภาษณ์) ในทะเบียนวัดของส�านักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติระบุว่าตั้งวัด
ในปี พ.ศ. ๒๔๕๗ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ ๒๓ มีนาคม พ.ศ.
๒๕๒๓ ส่วนจารึกอักษรไทยน้อยที่ประตูสิมระบุว่า “ผู้สร้างสิมคือ ญาครูทา
สมเด็จชาดา ภิกษุ สามเณร และอุบาสก อุบาสิกา สร้างแล้วเสร็จเมื่อ พ.ศ.
๒๔๑๗” (วิโรฒ ศรีสุโร ๒๕๓๖: ๒๔๙)
ชื่อวัดตั้งตามชื่อบ้านต�าแยซึ่งเดิมเป็นดงต�าแย (พระครูอินทสารโสภณ
๒๕๖๒: สัมภาษณ์)
เจ้าอาวาส เจ้าอาวาสวัดต�าแยคือ พระครูอินทสารโสภณ (อ�าคา อินฺทสาโร
พันจ�าปา) ที่ปรึกษาเจ้าคณะต�าบลไร่น้อย เขต ๒
ด้านการปกครอง พ.ศ. ๒๕๖๒ มีพระภิกษุ ๔ รูป
๔. ความส�าคัญ
๔.๑ วัดต�าแยมีโบราณสถานที่ส�าคัญคือ สิมเก่าแบบอีสาน
๔.๒ เป็นที่ประดิษฐานพระเจ้าใหญ่อินทร์แปลง (จ�าลอง)
๔.๓ เป็นหนึ่งใน ๑๒ วัดที่เทศน์ธรรมัสสวนะสามัคคี กลุ่มรอบนอก
ในช่วงเข้าพรรษา ซึ่งเริ่มเมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๖