Page 77 - วัฒนศิลปสาร ปีที่ ๑๕ (ตุลาคม ๒๕๖๒ - พฤษภาคม ๒๕๖๓) สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
P. 77

วัดในเขตอ�ำเภอเมืองอุบลรำชธำนี จังหวัดอุบลรำชธำนี  69


                        อุโบสถวัดกลางมีชื่อเสียงในวงการสถาปัตยกรรมศึกษาซึ่ง ติ๊ก

            แสนบุญ ได้กล่าวถึงความส�าคัญไว้ว่า “สิมหรือโบสถ์วัดกลาง อ�าเภอเมือง จังหวัด
            อุบลราชธานี ขนาดกว้าง ๗ เมตร ยาว ๑๘ เมตร สร้างปี พ.ศ. ๒๕๑๕-๑๖
            ซึ่งเป็นช่วงเฟื่องฟูของรูปแบบศิลปะสถาปัตยกรรมไทยประยุกต์สถาปัตยกรรมไทย

            ร่วมสมัย ที่มีกลิ่นอายอิทธิพลศิลปะสถาปัตยกรรมของคณะราษฎร (ผ่านรสนิยม
            ผู้เกี่ยวข้อง) ถือเป็นสิมหรือโบสถ์ ๑ ใน ๒ หลัง ซึ่งตามข้อมูลกล่าวว่ามีอีกแห่ง

            ทางภาคใต้ที่ใช้แบบเดียวกัน...รูปลวดลายที่ถูกลดทอนแบบสัจนิยมแห่งลักษณะ
            งานคอนกรีตตามองค์ประกอบส่วนประดับตกแต่งโบสถ์...วัดกลาง เมืองอุบลถือ
            เป็นรสนิยมน�าเข้า (ความเป็นไทยฉบับแห่งชาติ) ในเชิงช่างที่สืบต่อคติมาจาก

            สถาปัตยกรรมไทยเครื่องคอนกรีต อันเป็นรูปแบบสัญญะหนึ่งที่ต่อสัมพันธ์กับ
            บริบททางสังคมการเมืองยุคคณะราษฎร...ภายในโบสถ์ที่ลดทอนการตกแต่งรูป

            ลวดลายในส่วนประณีตศิลป์โดยเน้นความประหยัดเรียบง่ายตามปรัชญา
            สถาปัตยกรรมสมัยใหม่ (ไทยแห่งชาติ) ประยุกต์...” (ติ๊ก แสนบุญ ๒๕๕๘: ไม่มี
            เลขหน้า)

                  ๒.๒ พระเจ้าใหญ่พระบทม์
                        พระเจ้าใหญ่พระบทม์หรือพระเจ้าใหญ่ศรีสรรเพชร ปางมารวิชัย

            ขนาดหน้าตักกว้าง ๗๘ นิ้ว สูง ๑๐๘ นิ้ว พุทธลักษณะคล้ายพระเหลาเทพนิมิต
            อ.พนา จ.อ�านาจเจริญ สร้างเมื่อราว พ.ศ. ๒๓๓๖ ด้วยอิฐดินเหนียวผสมเกสร
            ดอกบัวและว่านจ�าปาสักป่นละเอียด อธิษฐานก่อปั้นเป็นองค์พระ ไม่มีเหล็กเสริม

            ภายใน และใช้เกสรดอกบัวป่นละเอียดคลุกกับยางบง น�้าแช่เปลือกเม็ก น�้าข้าว
            จ้าวต้มเคี่ยว หินเผาไฟป่นละเอียด น�้าอ้อยเคี่ยวจนเหนียวผสมเป็นเนื้อเดียวกัน

            ดีแล้วใช้ฉาบทาให้เป็นผิวขององค์พระบทม์ กรรมวิธีโบราณนี้เรียกว่า “ปูนน�้า
            อ้อย” ชื่อพระบทม์นี้เรียกกันมาแต่ครั้งปู่ย่าตาทวด เชื่อว่ามาจากค�าว่าบัว คือ
            ปทุม�-ปทม-บทม์ หมายถึงพระดอกบัว ได้แก่ บัวหลวงมีสีแดงกลิ่นหอม เป็น

            พระพุทธรูปที่ประสาทพรเกื้อกูลให้เกิดความส�าเร็จตามแรงสัจจธิษฐานปรารถนา
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82