Page 21 - วัฒนศิลปสาร ปีที่ ๑๓ (ตุลาคม ๒๕๖๐ - พฤษภาคม ๒๕๖๑) สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
P. 21

ต่อมาใน พ.ศ. ๒๓๓๔ อ้ายเซียงแก้วที่ตั้งอยู่บ้านเขาโอง แขวงเมืองโขง

          ตั้งตนเป็นผู้วิเศษมีผู้คนนับถือมาก คิดก่อการกบฏยกกองก�าลังเข้าตีเมืองนคร
          จ�าปาสัก พอดีกับช่วงเวลานั้นพระเจ้าองค์หลวงไชยกุมารเจ้าเมืองนครจ�าปาสักก�าลัง
          ล้มป่วยหนักอยู่ไม่คิดต่อสู้และถึงแก่กรรมลง อ้ายเซียงแก้วจึงสามารถตีเมืองนคร

          จ�าปาสักได้โดยง่าย เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ทราบเหตุจึง
          โปรดเกล้าฯ ให้เจ้าเมืองนครราชสีมา (ทองอิน) เมื่อครั้งยังเป็นพระพรหมยกบัตรยก

          กองทัพเมืองนครราชสีมาไปปราบกบฏเซียงแก้ว แต่ในขณะที่กองทัพเมืองนครราช
          สียังมาไม่ถึง พระประทุมสุรราช และท้าวฝ่ายหน้าที่ตั้งอยู่เมืองสิงห์ท่า (อ�าเภอเมือง
          ยโสธรปัจจุบัน) ได้ยกกองก�าลังไปตีอ้ายเซียงแก้ว ทั้งสองฝ่ายได้กระท�าการสู้รบกัน

          ที่แก่งตะนะ กองทัพอ้ายเชียงแก้วแตกพ่ายไป อ้ายเซียงแก้วถูกจับได้และถูกประหาร
          ชีวิต จากความดีความชอบในการปราบกบฏครั้งนี้เองพระบาทสมเด็จพระพุทธ

          ยอดฟ้าจุฬาโลก จึงได้โปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้ท้าวฝ่ายหน้าเป็นพระยาวิไชยขัติยวงศา
          ครองเมืองนครจ�าปาสัก และหลังจากได้โปรดเกล้าฯ ให้พระประทุมสุรราช เป็น
          พระประทุมวรราชสุริยวงษ์ ครองเมืองอุบลราชธานี เมื่อวันจันทร์ แรม ๑๓ ค�่า เดือน

          ๘ จุลศักราช ๑๑๕๐ (พ.ศ. ๒๓๓๕) และพร้อมกันนั้นก็ได้โปรดให้ยกฐานะ
          บ้านห้วยแจระแมขึ้นเป็นเมืองอุบลราชธานีขึ้นกรุงเทพฯ และต่อมาพระประทุม

          วรราชสุริยวงษ์จึงได้ย้ายครอบครัวไพร่พลจากหมู่บ้านห้วยแจระแมมาตั้งที่บ้านร้าง
          ริมแม่น�้ามูล อันเป็นที่ตั้งอ�าเภอเมืองอุบลราชธานีในปัจจุบัน และพระประทุมวรราช
          สุริยวงษ์ (เจ้าค�าผง) ได้สร้างวัดหลวงขึ้นเป็นวัดคู่บ้านคู่เมืองวัดแรกด้วย ซึ่งพอจะ

          ยึดถือได้ว่าเมืองอุบลราชธานีก็ได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นเมือง เมื่อวันจันทร์
          แรม ๘ ค�่า เดือน ๘ จุลศักราช ๑๑๕๔ หรือ พ.ศ. ๒๓๓๕ ซึ่งตรงกับวันที่ ๑๖ กรกฎาคม

          พ.ศ. ๒๓๓๕ นั่นเอง
               พระประทุมวรราชสุริยวงษ์ (เจ้าค�าผง) ก็ได้น�าพระแก้วบุษราคัมมา
          ประดิษฐานไว้ ณ วัดหลวง ซึ่งเรื่องพระแก้วบุษราคัมนี้ยังมีเรื่องเล่าสืบมา คือ

          เมื่อสิ้นอายุขัยของพระประทุมวรราชสุริยวงษ์ (เจ้าค�าผง) ต่อมาท้าวเพี้ยกรมการ
          เมืองอุบลฯ เกรงว่าข้าหลวงจากกรุงเทพฯ ซึ่งมาตรวจราชการที่เมืองอุบลฯ จะขอเอา

          พระแก้วบุษราคัมไปทูลเกล้าฯ ถวายพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔ จึงได้รีบน�าพระแก้ว


                                                                   วัฒนศิลปสาร  19
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26