Page 11 - วัฒนศิลปสาร ปีที่ ๑๗ (มิถุนายน ๒๕๖๔ - พฤษภาคม ๒๕๖๕) สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
P. 11
หน้า | 7
ิ
ี
ั
้
ิ
ู
อุ�ค�รหม�ยเลข้ 2 มข้นั�ด้ 4.5x10 เมติร หนัหนั�ไปท�งทศิติะวัันัอุอุก กอุด้้วัยศิิล�แลง ผวันัอุกฉ�บปนั
่
ี
อาคารหมายเลข 2 มขนาด 4.5x10 เมตร หันหน้าไปทางทิศตะวันออก ก่อด้วยศิลาแลง ผิวนอกฉาบ
่
ุ
่
ี
ั
�
้
�
้
มมข้ยนัอุอุกไปท�งทิศิติะวันัอุอุก ซึ่งนั�จัะใชเปนัท�งเข้�-อุอุก ภั�ยในัปร�กฏแท่นัฐ�นัชุกช (ประด้ิษฐ�นั
้
ี
็
ปูน มีมุขยื่นออกไปทางทิศตะวันออก ซึ่งน่าจะใช้เป็นทางเข้า-ออก ภายในปรากฏแท่นฐานชุกชี (ประดิษฐานพระ
่
ิ
ั
ั
ิ
้
้
่
�
�
็
ั
�
ุ
้
พระประธ�นั) สำนันัษฐ�นัวั�หลงค�เปนัเคร้อุงไมมงกระเบอุงด้นัเผ� อุ�ค�รหลงนัีกอุสำร�งด้้วัยศิิล�แลงแบบหย�บ ๆ
ประธาน) สันนิษฐานว่าหลังคาเป็นเครื่องไม้มุงกระเบื้องดินเผา อาคารหลังนี้ก่อสร้างด้วยศิลาแลงแบบหยาบ ๆ
่
็
้
่
้
�
่
อุ�จัเปนัก�รรอุโบร�ณิสำถุ�นัหลังเด้มแลวันั�ม�กอุสำร�งข้นัใหมเปนัอุ�ค�รหลงนั เทคนัคก�รกอุสำร�งไมได้เปนัแบบ
้
ิ
ี
ำ
�
้
็
ั
้
�
ิ
็
่
่
อาจเป็นการรือโบราณสถานหลังเดิมแล้วนำมาก่อสร้างขึ้นใหม่เป็นอาคารหลังนี้ เทคนิคการก่อสร้างไม่ได้เป็นแบบ
้
่
วััฒนัธรรมเข้มร มรอุงรอุยก�รประกอุบศิิล�แลงหล�ยกอุนัทีไมอุยในัติ�แหนังเด้ม สำนันัษฐ�นัวั�อุ�ค�รหลงนัีอุ�จั
ิ
้
่
�
ู
ำ
่
่
ั
�
่
ี
ั
ิ
วัฒนธรรมเขมร มีร่องรอยการประกอบศิลาแลงหลายก้อนที่ไม่อยู่ในตำแหน่งเดิม สันนิษฐานว่าอาคารหลังนี้อาจ
่
�
ู
้
่
เปนัสำมทบ ซึ่งหม�ยถุงสำมทท�ผนังปด้ทง 4 ด้�นั ยกเวันัชอุงประติ ชอุระบ�ยอุ�ก�ศิหรอุช่อุงแสำง พบได้ม�ก
้
่
่
้
�
ั
ี
ำ
�
ิ
ิ
่
้
ิ
ั
็
ู
เป็นสิมทึบ ซึ่งหมายถึงสิมที่ทำผนังปิดทั้ง 4 ด้าน ยกเว้นช่องประต ช่อระบายอากาศหรือช่องแสง พบได้มากใน
ี
ในัแถุบอุสำ�นัใติ ้
แถบอีสานใต้
อาคารหมายเลข 3 มขนาด 6x9.8 เมตร หันหน้าไปทางทิศตะวันตก เข้าหาด้านหน้าอาคารหมายเลข
ี
2 ก่อสร้างด้วยศิลาแลงฉาบปูนเช่นเดียวกับอาคารหมายเลข 2 ด้านหน้าหรือด้านทิศตะวันตกทำเป็นมุขสำหรบ
ั
ทางเดินเข้าออก มีร่องรอยของหลุมเสารองรับโครงสร้างหลังคาเครื่องไม้มุงกระเบื้องดินเผา สันนิษฐานว่าน่าจะ
เป็นอุโบสถ (สิม) เช่นเดียวกับอาคารหมายเลข 2 รอบอาคารหมายเลข 2 และ 3 มีเสมาหินทรายปักเป็นคู่ล้อมรอบ
อยู่ 7 คู่ (ไม่พบในตำแหน่งตรงกลางของด้านทิศตะวันออก)
อาคารหมายเลข 4 เป็นซากโบราณสถานที่พังทลายลงหมดแล้ว ไม่สามารถศึกษารูปแบบอาคารได ้
แต่น่าจะร่วมสมัยกับอาคารหมายเลข 1 เนื่องจากอยู่ในระดับชั้นดินเดียวกัน
จากรูปแบบสถาปัตยกรรม หลักฐานใบเสมาหินที่พบ 7 คู่ ลักษณะการวางตำแหน่งเสมาที่หันเข้าหา
้
อาคารหมายเลข 2 และ 3 และเสมา 1 คู่ ที่วางตำแหน่งซ้อนอยู่บนแนวอาคารหมายเลข 1 ทำให้สันนิษฐานไดว่า
ในสมัยที่มีการใช้ประโยชน์จากอาคารหมายเลข 2 และ 3 นั้น น่าจะเลิกใช้ประโยชน์จากอาคารหมายเลข 1 แล้ว
โดยอาคารหมายเลข 2 และ 3 ก็คือโบสถ์หรือสิมนั่นเอง
5) อายุสมัย
จากการศึกษา พบว่าโบราณสถานโนนแกมีการก่อสร้างซ้อนทับกัน 2 สมัย ได้แก่ สมัยที่ 1 ก่อสร้าง
อาคารหมายเลข 1 และ 4 เนื่องในวัฒนธรรมเขมรโบราณ เป็นศาสนสถานในศาสนาฮินดู ได้แก่ อาคารหลังทศ
ิ
เหนือและหลังทางทิศใต้ มีอายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 17-18 สมัยที่ 2 ได้ก่อสร้างอาคารทับบนซากอาคารหลง ั
้
ทิศใต จำนวน 2 หลัง คืออาคารหมายเลข 2 และ 3 โดยมีใบเสมาหินทรายปักล้อมรอบ ใช้งานเป็นอุโบสถ (สิม)
ในศาสนาพุทธ มีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 24-25
6) การประกาศขึ้นทะเบียน
ิ
ึ้
กรมศลปากรประกาศขนทะเบียนโบราณสถานและกำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน ในราชกิจจานุเบกษา
ิ
ิ
เล่มที่ 122 ตอนพเศษ 126 ง เมื่อวันที่ 7 พฤศจกายน 2548 มพื้นที่โบราณสถานประมาณ 3 ไร่ 1 ตารางวา
ี
7) เจ้าของหรือผู้ครอบครอง
องค์การบริหารส่วนตำบลคูเมือง อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี และสำนักศิลปากรที่ 9
อุบลราชธานี กรมศิลปากร ร่วมกันดูแลรักษาโบราณสถานแห่งนี้
8) ลักษณะการใช้ประโยชน์
โบราณสถานโนนแก ใช้ประโยชน์เป็นแหล่งเรียนรู้และแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมของท้องถน
่
ิ
รวมทั้งเป็นปูชนียสถานที่ผู้ศรัทธาให้ความเคารพบูชาอยู่ในปัจจุบัน
วารสารวัฒนศิิลปสาร ปีที่่� 17
่
ย่านชุุมชุนเก่่า...อำำาเภอำวาริินชุาริาบ 9
ำ