Page 20 - วัฒนศิลปสาร ปีที่ ๑๗ (มิถุนายน ๒๕๖๔ - พฤษภาคม ๒๕๖๕) สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
P. 20
หน้า | 16
“ครั้งหนึ่งพ่อขานเคยเป็นผู้ขนสินค้าจากสถานีรถไฟไปยังท่าเรือบริเวณชุมชนหาดสวนยา”
ในช่วงที่รถไฟเดินทางมาถึงจังหวัดอุบลราชธานี จึงส่งผลให้มีการขนส่งสินค้าอุปโภค บริโภค อาหารสด
อาหารทะเล มาจากเมืองหลวง เพื่อกระจายสินค้าไปยังจังหวัดใกล้เคียง โดยการขนส่งสินค้าจะมีการลำเลียง
จากสถานีรถไฟไปยังพื้นที่ท่าเรือบริเวณชุมชนหาดสวนยา เพื่อขึ้นแพข้ามไปยังฝั่งเมืองอุบลราชธาน ี
และลำเลียงไปจังหวัดใกล้เคียง เช่น มุกดาหาร ยโสธร เป็นต้น ซึ่งก่อให้เกิดรายได้แก่ผู้คนในท้องถิ่นอุบลมากมาย”
�
้
้
ภาพการสร้างเส้นทางรถไฟ จาก ไกด์อุบลดอทคอม. (2559)
ภั�พก�รสำร�งเสำนัท�งรถุไฟ ทีม� ไกด้อุุบลด้อุทคอุม. 2559
์
้
จากการขนส่งสินค้าข้ามฝั่งแม่น้ำมูลในช่วงฤดูฝน จะเป็นช่วงเวลาที่มีความยากลำบากเนื่องจากนำ
ในแม่น้ำมูลจะไหลแรงและเร็ว จึงส่งผลให้การขนส่งสินค้าเกิดความเสียหาย ดังนั้น กรมรถไฟ จึงได้ก่อสร้าง
ู
ทางรถไฟเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งเส้นทางเพื่อวางทางแยก จากสถานีบุ่งหวาย ระยะทาง 7 กิโลเมตร ไปยังสถานีโพธิ์มล
(บ้านกุดหวาย ตำบลหนองกินเพล) ซึ่งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำมูล เพื่ออำนวยความสะดวกในการรับส่งสินค้า และส่งสินคา ้
ลงแพเพื่อข้ามฝั่งไปยังเมืองอุบลราชธานี และในปี พ.ศ. 2497 สะพานเสรีประชาธิปไตย เริ่มเปิดให้ใช้งานอย่างเป็น
ทางการ จึงส่งผลให้การขนส่งสินค้าทางแพได้ถูกยกเลิกไปในที่สุด เมื่อสะพานเสรีประชาธิปไตย 2497
หรือ สะพานข้ามแม่น้ำมูล อุบลราชธานี เป็นสะพานข้ามแม่น้ำมูลแห่งแรกในจังหวัดอบลราชธานี เชื่อมต่อระหว่าง
ุ
เทศบาลนครอบลราชธานีและเทศบาลเมืองวารินชำราบ ถนนบนตัวสะพานเป็นเส้นทางของทางหลวงแผ่นดน
ิ
ุ
หมายเลข 24 หรือ ถนนอุปราช (เรียกกันในเขตเทศบาลนครอุบลราชธานี) ซึ่งสะพานเสรีประชาธิปไตย 2497
จะตั้งอยู่คู่กับสะพานรัตนโกสินทร์ 200 ปีในด้านทิศตะวันออก โดยสะพานเสรีประชาธิปไตย 2497
จะเป็นสะพานฝั่งขาเข้าเมืองอุบลราชธานี ส่วนสะพานรัตนโกสินทร์ 200 ปีจะเป็นฝั่งขาออกเมืองอุบลราชธาน
ี
่
(สะพานเสรีประชาธิปไตยได้ถูกรื้อถอนไปและสร้างสะพานขึ้นใหมเมื่อ พ.ศ. 2535 แผ่นป้ายชื่อสะพานเสร ี
้
ประชาธิปไตยเดิม ไดนำไปเก็บรักษาไว้ ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อุบลราชธานี)
18 วารสารวัฒนศิิลปสาร ปีที่่� 17
ย่านชุุมชุนเก่่า...อำำาเภอำวาริินชุาริาบ
ำ
่