Page 122 - วัฒนศิลปสาร ปีที่ ๑๕ (ตุลาคม ๒๕๖๒ - พฤษภาคม ๒๕๖๓) สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
P. 122

114 วัดในเขตอ�ำเภอเมืองอุบลรำชธำนี จังหวัดอุบลรำชธำนี


                     ๓) พระพุทธรูปไม้ ปางสมาธิ

                     ๔) พระพุทธรูปศิลา ปางมารวิชัย ศิลปะล้านช้าง
                     ชั้นล่างของพระบรมธาตุเนรมิตเจดีย์จัดเป็นพิพิธภัณฑ์ แสดง
          โบราณวัตถุและศิลปวัตถุจ�านวนมาก ในที่นี้จะกล่าวถึงเฉพาะชิ้นส�าคัญมาก ดังนี้

                     ๑) ตู้พระธรรมลายรดน�้า ๓ หลัง หลังที่ ๑ เขียนเรื่องรามเกียรติ์
          ตอนศึกวิรุญจ�าบัง วิธุรชาดก มโหสถชาดก รามสูร และพุทธประวัติ หลังที่ ๒

          เขียนเรื่องพุทธประวัติและวรรณกรรมท้องถิ่น หลังที่ ๓ เขียนเรื่องสินไซ
          และพระมาลัย ตู้พระธรรม ๓ หลังนี้เป็นฝีมือช่างเมืองอุบลราชธานีที่ได้รับ
          อิทธิพลจากศิลปะรัตนโกสินทร์ ตามจารึกวัดใต้เทิง ๒ กล่าวถึงการสร้างตู้พระ

          ธรรมนี้ไว้ว่า “...ประการหนึ่ง สมเด็จอัครวรราชครูเจ้าตนเป็นเค้าในพุสสอร
          อาราม มีใจบานบ่หัน จึงได้สร้างตู้ ๔ หน่วย ด้วยลายรดน�้าจุนเจือเป็นเครือ

          เกี้ยวกอดสบสอดแล้วสนกัน มีรูปสรรพสรรต่าง ๆ อันสรรพช่างหากริจนา
          อันเป็นลายค�าสาชาวการสิกราช อันคนผู้สลาดหากควรน้อมนมัสการในวัตถุทาน
          อันยิ่ง จึงได้ชื่อว่ามัญสา อันเต็มไปด้วยปิฏกาทุกหน่วย...” (ธวัช ปุณโณทก

          ๒๕๓๐: ๔๐๘) ส่วนตู้พระธรรมหลังที่ ๔ อาจยกให้วัดอื่นหรือสูญหายไป
          สันนิษฐานว่าหลวงปู่เสาร์อาจน�าไปไว้ที่วัดเลียบ (พระราชธรรมโกศล ๒๕๖๑:

          สัมภาษณ์)
                     ๒) คัมภีร์ใบลานและผ้าห่อคัมภีร์ เก็บรักษาไว้ในตู้พระธรรม
                     ๓) ตู้พระธรรม ๒ หลัง

                     ๔) พระพุทธรูปศิลา ปางสมาธิ ศิลปะล้านช้าง จ�านวน ๓ องค์
                     ๕) ช่อฟ้า (โหง่) ไม้ตะเคียน เป็นช่อฟ้าของศาลาหลังเก่าของวัดซึ่ง

          รื้อเมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๕
               ๒.๕ ชิ้นส่วนคันทวยของอุโบสถหลังเก่า
                     รื้อสิมเดิมใน พ.ศ. ๒๕๐๙ น�าคันทวยมาเก็บรักษาไว้ที่กุฏิเจ้าอาวาส

          จ�านวน ๒ คันทวย
   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127