Page 291 - วัฒนศิลปสาร ปีที่ ๑๕ (ตุลาคม ๒๕๖๒ - พฤษภาคม ๒๕๖๓) สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
P. 291

วัดในเขตอ�ำเภอเมืองอุบลรำชธำนี จังหวัดอุบลรำชธำนี 283


                    ๒.๔ พระเจ้าปากด�า

                        พระเจ้าปากด�าเป็นพระพุทธรูปส�าริดปางมารวิชัย ศิลปะล้านช้าง
            พระรัศมียาว ประดับพลอยสี ปลายยอดเป็นผลึกแก้วใสเมื่อต้องแสงจะเปล่ง
            ประกายสวยงาม  อยู่คู่วัดหลวงมาแต่เดิม  สันนิษฐานว่าอาจน�ามาจาก

            เวียงจันทน์หรือจ�าปาสัก ริมพระโอษฐ์เปลี่ยนจากสีแดงของเดิมเป็นสีด�า
            จึงเรียกท่านว่าหลวงพ่อปากด�าหรือพระเจ้าใหญ่ปากด�า (สุริยา โชคสวัสดิ์

            และสุพัฒน์ เงาะปก ๒๕๕๐: ๒๗) อาจเป็นพระพุทธรูปองค์เดียวกับที่ บ�าเพ็ญ
            ณ อุบล กล่าวว่าเคยประดิษฐานที่กุฏิท่าของวัด เป็นพระพุทธรูปที่ใช้เป็น
            ประธานในงานบุญมหาชาติหรือบุญผะเหวด เป็นพระโบราณฐานสูง เนื้อส�าริด

            นาก พระโอษฐ์เป็นทองชมพูนุทสีแดง (บ�าเพ็ญ ณ อุบล ๒๕๕๐: ๔๒) ในปี
            พ.ศ. ๒๕๖๑ วัดหลวงได้ปรับปรุงอุโบสถและหล่อจ�าลองพระเจ้าใหญ่ปากด�าเป็น

            พระประธานในอุโบสถ ถวายพระนามว่า “พระพุทธสิริมงคล อุบลราชธานี
            ศรีวนาไล” ท�าพิธีสมโภชเมื่อวันที่ ๒๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๑ และอัญเชิญหลวง
            พ่อปากด�าองค์จริงขึ้นประดิษฐานไว้ด้านบน

                    ๒.๕ พระนาคปรกศิลา
                        พระนาคปรกศิลามี ๒ องค์ ปางมารวิชัย ศิลปะท้องถิ่น เป็น

            พระพุทธรูปเก่าแก่ของวัดหลวงมาแต่เดิม องค์ที่พระพักตร์แตกช�ารุดเคย
            อัญเชิญไปประดิษฐานที่วัดหาดสวนยา พระครูวิลาสกิจจาทร ได้อัญเชิญกลับ
            มาที่วิหารพระเจ้าใหญ่องค์หลวงเช่นเดิม

                    ๒.๖ เม็ง
                        เม็งหรือธรรมาสน์ปาฏิโมกข์ ศิลปะสกุลช่างเมืองอุบลราชธานี

            ๒ หลัง หลังแรกมีพนักพิงรูปใบเสมา แต่เดิมใช้ส�าหรับแสดงพระปาฏิโมกข์
            หลังที่ ๒ มีพนักพิงรูปใบเสมาสลักรูปพญานาคปีก ๒ ตัวหางเกี้ยวรอบใบเสมา
            ใช้ส�าหรับเทศน์ตอนเย็นในวันปกติ สร้างโดยญาท่านกัญญา อดีตเจ้าอาวาส
   286   287   288   289   290   291   292   293   294   295   296