Page 37 - วัฒนศิลปสาร ปีที่ ๑๗ (มิถุนายน ๒๕๖๔ - พฤษภาคม ๒๕๖๕) สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
P. 37

หน้า | 33














                   นายสฤษดิ์ วิฑูรย์ ผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี เป็นประธานประกอบพิธีพลีกรรมตักน้ำ
                                   จากแหล่งน้ำศักดิ์สิทธิ์บ่อน้ำโจ้ก


               8. รถม้าวาริน
                 ในอดีตการคมนาคมทางบกส่วนใหญ่จะใช้เกวียน ทางน้ำจะใช้เรือ เพราะยังไม่มีรถยนตอย่างทุกวันนี้
                                                                     ์
            รถม้า รถลาก มีครั้งแรกในสมัยที่กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์มาประทับที่เมืองอุบลราชธานี ซึ่งเป็นช่วงเวลาท ี ่
            การค้าการขายมีความเจริญเติบโตเป็นอย่างมาก เนื่องจากมีชาวจีนได้ล่องเรือนำสินค้าจากจังหวัดต่าง ๆ เพื่อมาซื้อ
                    ี
                    �
                             ่
                                                                          ิ
                        ั
                           ั
            ข้�ยแลกเปลยนัในัจังหวัด้ติ�ง ๆ   ่ จั่งสำ่งผลให้รูปแบบข้อุงก�รค้�ก�รข้�ยสำินัค้�มีควั�มค่กคักม�กย�งข้่�นั
            ขายแลกเปลี่ยนในจังหวัดต่าง ๆ จึงสงผลให้รูปแบบของการค้าการขายสินค้ามีความคึกคักมากยิ่งขึ้น รถมา
                                                                            ้
                                    ี
                                        �
                                  �
                       ็
                                 ่
            รถุม� จั�กเด้มเคยเปนัย�นัพ�หนัะ แติเม้อุมก�รเปลียนัแปลงข้อุงระบบเศิรษฐกจั รถุม�จั่งกล�ยเปนัก�รรถุบรรทกสำ ิินัค้� ้
                                                                         ุ
                                                                 ็
                                                       ิ
                                                          ้
                   ิ
              ้
                                      ี
            จากเดิมเคยเป็นยานพาหนะ แต่เมื่อมีการเปล่ยนแปลงของระบบเศรษฐกิจ รถม้าจึงกลายเป็นการรถบรรทุกสนคา
            ต่อมา และเมื่อรถยนต์ได้เข้ามาสู่พื้นที่ จึงส่งผลให้การใช้ลดม้ามีปริมาณลดลง ประกอบกับในช่วงเวลาของสงคราม
            เวียดนาม ที่เมืองอุบลราชธานีไดมีทหารอเมริกันเข้ามาตั้งฐานทัพอยู่ในพนที่ฝั่งเมืองอบลราชธานี จึงได้มีการจัดตั้ง
                                                     ื้
                              ้
                                                            ุ
            สนามม้าในฝั่งเมืองอุบลราชธานี เพื่อให้เป็นเกมกีฬาและการสันทนาการให้กับทหารอเมริกันและชาวบ้าน
            จังหวัดอุบลราชธานี
                 พ.ศ. 2471 คุณปู่แดง มั่นวงศ์ ได้เริ่มนำม้ามาเลี้ยงและใช้ม้าเป็นพาหนะสำหรับเดินทางไปยังสถานท  ี ่
            ต่าง ๆ แม้กระทั่งตอนที่ท่านบวชก็ยังคงใช้ม้าเพื่อเดินทางไปรับกิจนิมนต์ และท่านก็เลี้ยงม้ามาอย่างต่อเนื่อง
                                                         ี
                                                         ้
            จนเข้าสู่รุ่นของพ่อกับแม่ของคุณเลิศพงษ์ ในราว พ.ศ. 2500 นอกจากจะเลยงเพื่อเป็นยานพาหนะแล้วก็เริ่มม  ี
            การนำม้ามาใช้สำหรับลากรถ เพื่อขนส่งสินค้าในท้องถิ่นไปจำหน่ายในตัวเมือง และการเลี้ยงม้าสำหรับการแข่งขัน
                                                                       ั
            ความเร็วด้วย ซึ่งขณะนั้นเวลานั้นเป็นช่วงสงครามเวียดนาม ที่เมืองอุบลราชธานีมีทหารอเมริกันเข้ามาพกอาศัยอยู่
                       ั
            จำนวนมาก และจงหวัดอุบลราชธานีก็มีสนามม้าเกิดขึ้นด้วย ภายหลังสนามม้านี้คือที่ตั้งของศูนย์วิทยบริการ
            มหาวิทยาลัยสุโขทยธรรมาธิราช ครอบครัวมั่นวงศ์ยังคงเลี้ยงม้าหรือทำคอกม้ามาอย่างต่อเนื่อง และนั่นก็ทำให้คน
                      ั
                                                                            ้
                                                       ้
            ในครอบครัวหลายคนมีอาชีพที่เกี่ยวกับม้ามาจนถึงปัจจุบัน เช่น เป็นเจาของคอกม้า นักแข่งม้า ผู้ฝึกซ้อมมา
            (เลิศพงษ์ มั่นวงศ์. 2559: สัมภาษณ)  ์
                                                          วารสารวัฒนศิิลปสาร ปีที่่� 17
                                                             ่
                                                            ย่านชุุมชุนเก่่า...อำำาเภอำวาริินชุาริาบ  35
                                                                           ำ
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42